ยินดีต้อนรับเข้าสู่ เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลบุฤาษี  
 
สแกน QR Code เพื่อร่วมประเมินแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
 
 
 
 
 ประวัติความเป็นมา
 สภาพทั่วไป
 ตราสัญลักษณ์
 บริการขั้นพื้นฐาน
 สภาพทางสังคม
 สภาพเศรษฐกิจ
 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงาน
 ข้อมูลการติดต่อ
 สายด่วนนายก
 
 
 กองคลัง
 กองช่าง
 กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบุฤาษี
 สำนักปลัด
 
 
 คณะผู้บริหาร
  สมาชิกสภา
  ผู้บริหาร
  หัวหน้าส่วนราชการ
  สำนักปลัด
  กองคลัง
  กองช่าง
  กองการศึกษา ฯ
  หน่วยตรวจสอบภายใน
 
 
รายงานกิจการสภา
ประกาศ
ข่าวประชาสัมพันธ์
คู่มือประชาชน
ศูนย์ดำรงธรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
เบี้ยผู้สูงอายุ
อปพร.
มุมอาเซียน
ข่าวเด่น
จดหมายข่าว
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
แบบสอบถามความพึงพอใจ
ภาพกิจกรรม
ผลิตภัณฑ์ตำบล
ผลงานเด่น
สถานที่สำคัญ
หนังสือราชการ สถ.
หนังสือราชการ สถ.จ.
 
 
  แผนยุทธศาสตร์
  แผนพัฒนาท้องถิ่น
  แผนการขับเคลื่อนหน่วยงาน
  แผนดำเนินงานประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
 แนะนำการชำระภาษี
 
 
  ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
  แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
 
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ผลประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
ราคากลางจัดซื้อจัดจ้าง
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศผู้เสนอราคา
 
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
 
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
แผนอัตรากำลัง
 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  รับฟังความเห็นงานด้านทรัพยากรบุคคล
 
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
  ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
 
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
 
พ.ร.บ./พ.ร.ก.
กฎกระทรวง/ระเบียบฯ
ระเบียบกฏหมายอื่นๆ
 คู่มือการปฏิบัติงาน
 คู่มือการให้บริการ
 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
 
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
 การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
 นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
 
มาตรฐานการให้บริการ
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
 e-service
 งานบริการของศูนย์บริการร่วม/ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ One Stop Service :OSS
 
 
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านต้องการให้ อบต. พัฒนาในส่วนใดมากที่สุด
ด้านการคมนาคม
ด้านการประชาสัมพันธ์ข้อมูล
ด้านการส่งเสริมอาชีพในตำบล
ด้านระบบอินเตอร์เน็ตตำบล
ด้านระบบสาธารณูปโภค
 
 
 
  3.12.76.241    
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบุฤาษี
_______________________________________________________________________________________________________
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบุฤาษี
 

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบุฤาษี

อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่นตําบล พ.ศ. 2537 แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562

1. พัฒนาตําบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)

2. หน้าที่ต้องทําตามมาตรา 67 ดังนี้

(1) จัดให้มีและบํารุงรักษาทางน้ําและทางบก

(2) รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย การดูแลการจราจร และส่งเสริมสนับสนุน หน่วยงานอื่น
ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว

(
3) รักษควมสะอดของถนน ทางน้ํา ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกําจัดมูลฝอยและ
สิ่งปฏิกู

(
4) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
(
5) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(
6) จัดกร ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และการฝึกอบรม
ห้แก่ประชาชน รวมทั้งการจัดการหรือสนับสนุนการดูแลและพัฒนาเด็กเล็กตามแนวทางที่เสนอแนะจา
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

(
7) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอยุ และผู้พิก
(
8) คุ้มครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(
9) บํารุงรักษาศิลปะ จรีตประเพณี ภูมิปัญญท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(10) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย

3. หน้าที่ที่อาจทํา ตามาตรา 68 ดังนี้

(1) ให้มีน้ําเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร

(2) ให้มีและบํารุงการไฟฟ้าหรือแสงสวางโดยวิธีอื่น

(3) ให้มีและบํารุงรักษาทางระบายน้ํา

(4) ให้มีละบํารุงสถานที่ประชุม การกีฬา และการพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณ

(5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์

(6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครัวเรือน

(7) บํารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร

(8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็สาธารณสมบัติของแผ่นดิน

(9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตําบล

(10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม

(11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์

(12) การท่องเที่ยว

(13) การผังเมือง

  

ํานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตําบลตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่เป็นการตัดอํานาจหน้าที่
ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐในอันที่จะดําเนินกิจการใดๆ เพื่อประโยชน์ขอ
ประชาชนในตําบลแต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตําบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การ
บริหารส่วนตําบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดําเนิกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การ หรือ
หน่วยงานของรัฐ นําความเห็นขององค์การบริหารส่วนตําบลไปประกอบการพิจารณาดําเนินกิจการนั้นด้วย
(มาตรา 69)

การปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตําบลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คํานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทํา
ผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบล การจัดทํางบประมาณ การจัดซื้จัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผล
การปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (มาตรา 69/1)

องค์การบริหารส่วนตําบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนําบล เพื่อใช้บังคับในเขตองค์การ
บริหารส่วนตําบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออํานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตําบล ในการนี้จะกําหนด
ค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกําหนดโทษปรับผู้ฝ่ฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กําหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาท
เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น (มาตรา 71)

การบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตําบลมีการจัดแบ่งการบริหารงานออกเป็นสํานักหรือ
กองตามที่องค์การบริหารส่วนตําบลได้ตั้งขึ้น โดยมีพนักงานส่วนตําบลเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และองค์การ
บริหารส่วนตําบลสามารถขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหาร
 ราชการส่วนท้องถิ่น ไปดํารงตําแหน่งหรือปฏิบัติงานขององค์การบริหาร
ส่วนตําบลชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอํานาจอนุญาตได้ตามความ
ําเป็น และในกรณีที่เป็นข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอํานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทยทําความ
ตกลงกับหน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง (มาตรา 72)

นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตําบลอาจทํากิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตําบลหรือร่วมกับ
สภาตําบลองค์การบริหารส่วนตําบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น
เพื่อกระทํากิจการร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตําบลองค์การบริหารส่วนตําบล องค์การ
บริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจการนั้นเป็นกิจก าร
ที่จําเป็นต้องทําและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของตน (มาตรา 73)

อํานาจหน้าที่ตามแผนกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่

ด้วยแผนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕ และ
แผนปฏิบัติการกําหนดขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) กําหนดให้
ดําเนินการถ่ายโอนภารกิจการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พระราชบัญญัติกกําหนด
แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น พ.ศ.
 2542 ําหนดให้องค์การบริหารส่วน
ตําบลมีอํานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของ
ตนเองตามมาตรา
 16 ดังนี้
1.
 การจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
2.
 การจัดให้มี และบํารุงรักษาทางบกทางน้ํา และทางระบายน้ํา
3.
 การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
4.
 การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอื่นๆ
5.
 การสาธารณูปการ
6.
 การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ

 7. คุ้มครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
8.
 การส่งเสริมการท่องเที่ยว
9.
 การจัดการศึกษา
10.
 การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
11.
 การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
12.
 การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
13.
 การจัดให้มี และบํารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
14.
 การส่งเสริมกีฬา
15.
 การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
16.
 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
17.
 ารรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
18.
 การกําจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ําเสีย
19.
 การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
20.
 การจัดให้มี และควบคุมสุสาน และฌาปนสถาน
21.
 การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
22.
 การจัดให้มี และควบคุมการฆ่าสัตว์
23.
 ารรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และ
สาธารณสถาน
 อื่นๆ
24.
 การจัดการ การบํารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่ไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม

25.
 การผังเมือง
26.
 การขนส่ง และการวิศวกรรมจราจร
27.
 การดูแลรักษาที่สาธารณะ
28.
 การควบคุมอาคาร
29.
 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
30.
 การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สิน

31.
 กิจอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
 
 
 

7

 

 
 
โทรศัพท์ 0-4406-9769 โทรสาร 0-4406-9770


การแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์จะสมบูรณ์ที่สุดในระบบ Google Chrome, Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer 8 ขึ้นไป
สงวนลิขสิทธิ์ © โดย
MediaCreativeCenter 08-7776-6615
  หน้าแรก  I  สถานที่สำคัญ  I  ผลิตภัณฑ์ตำบล  I  กระดานสนทนา  I  แผนผังเว็บไซต์  I  ติดต่ออบต.